Allocated procreation/th: Difference between revisions

From Izara Community
Jump to navigation Jump to search
Noey (talk | contribs)
No edit summary
FuzzyBot (talk | contribs)
Updating to match new version of source page
Line 24: Line 24:
ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว จะได้รับโอกาสยื่นคำขอประสงค์ขอมีบุตรได้ทุก ๆ สี่ปี และมีโควตาจำนวนครั้งที่สามารถลงชื่อของตนลงในคิวตามลำดับสำหรับกลุ่มเป้าหมายจำนวนสามคนได้
ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว จะได้รับโอกาสยื่นคำขอประสงค์ขอมีบุตรได้ทุก ๆ สี่ปี และมีโควตาจำนวนครั้งที่สามารถลงชื่อของตนลงในคิวตามลำดับสำหรับกลุ่มเป้าหมายจำนวนสามคนได้


<div class="mw-translate-fuzzy">
การลงชื่อของคุณไว้ในคิวของสมาชิกในชุมชนที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษ อาจส่งผลให้คำขอดังกล่าวใช้ระยะเวลานานหลายปีกว่าที่คำขอของคุณจะได้รับการดำเนินการต่อไป
การลงชื่อของคุณไว้ในคิวของสมาชิกในชุมชนที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษ อาจส่งผลให้คำขอดังกล่าวใช้ระยะเวลานานหลายปีกว่าที่คำขอของคุณจะได้รับการดำเนินการต่อไป
</div>


<span id="Target_partner_queue"></span>
<span id="Target_partner_queue"></span>
== การยื่นคำขอตามลำดับของกลุ่มเป้าหมายพันธมิตร ==
== การยื่นคำขอตามลำดับของกลุ่มเป้าหมายพันธมิตร ==


<div class="mw-translate-fuzzy">
สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำขอตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามจำนวนครั้งที่ถูกกำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือ 2 ปีสำหรับผู้หญิง
สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำขอตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามจำนวนครั้งที่ถูกกำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือ 2 ปีสำหรับผู้หญิง
</div>


หากไม่ต้องการยื่นคำร้องดังกล่าวแล้ว ผู้ยื่นคำขอสามารถลบชื่อออกจากคิวที่กำหนดไว้ได้ตลอดเวลา หากบุคคลดังกล่าวกลับมาลงชื่ออีกครั้ง แต่ไม่รักษาอันดับตามที่กำหนดไว้ในกฎและเงื่อนไข ชื่อของบุคคลดังกล่าวจะถูกเพิ่มไว้ที่ด้านล่างแทน
หากไม่ต้องการยื่นคำร้องดังกล่าวแล้ว ผู้ยื่นคำขอสามารถลบชื่อออกจากคิวที่กำหนดไว้ได้ตลอดเวลา หากบุคคลดังกล่าวกลับมาลงชื่ออีกครั้ง แต่ไม่รักษาอันดับตามที่กำหนดไว้ในกฎและเงื่อนไข ชื่อของบุคคลดังกล่าวจะถูกเพิ่มไว้ที่ด้านล่างแทน
Line 39: Line 43:


การคำนึงถึงสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญ โดยอาจมีการอนุญาตในกรณีพิเศษ นั่นคือกรณีเกี่ยวกับการคลอดบุตร เนื่องจากผู้หญิงได้รับความเสี่ยงและอาจเป็นอันตรายได้
การคำนึงถึงสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญ โดยอาจมีการอนุญาตในกรณีพิเศษ นั่นคือกรณีเกี่ยวกับการคลอดบุตร เนื่องจากผู้หญิงได้รับความเสี่ยงและอาจเป็นอันตรายได้
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
A community could enact rules where outside of the required quota woman can choose to have a child with any man they choose, whereas men must use the queue and quota method to choose a mate. This would allow all men to have the opportunity to choose the woman to mate with while respecting the larger health considerations and commitment procreation has for women.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
== Mutual agreement ==
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
If two people mutually agree to have a child together this might not count within their quota, for women this would need to be organized around the required frequency decided by the community.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
A community might enforce limits for the number of children one person can have, especially when communal child care and support is implemented.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
== Incorporating modern techniques ==
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
Fertility support could be supported or implemented by the community, in vitro fertilization used to assists couples having trouble conceiving.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
Surrogate mothers could be an established method to achieve quotas or mating without the need for women to carry children to term. This could be in cases where the health of the mother would be in jeopardy or the community could incorporate this into the standard method of handling pregnancies.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
Surrogate mothers could be rewarded by the community, or by the individuals involved for example if the pregnancy comes about from mutual agreement rather than quotas, but the mother is unable to carry the child herself at that time.
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
== Enforcement ==
</div>
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
Like all topics in the community the [[Issue resolution]] process is used when people do not act within the spirit of the communities goals regarding procreation.
</div>


<span id="Related_concepts"></span>
<span id="Related_concepts"></span>

Revision as of 11:29, 2 January 2025

Level 1 concept (Very low) - Tentative concept an Izara Community may consider implementing

ภาพรวมของชุมชน

จุดมุ่งหมายของการให้กำเนิดบุตรในขอบเขตด้านการควบคุมทางสังคมมีดังนี้:

รายละเอียดทั้งหมด การศึกษา และการสนับสนุนต่อการให้กำเนิด รวมไปถึงการเลี้ยงดูบุตร สามารถพิจารณาเห็นตามสมควรด้วยดุลยพินิจของแต่ละท่าน Izara Community.

ความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติตาม

สมาชิกในชุมชนที่บรรลุนิติภาวะตามกฏหมายแล้ว จึงจะสามารถพร้อมหรือประสงค์ขอมีบุตรร่วมกับสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ โดยมีเงื่อนไข กล่าวคือแต่ละคนจะได้รับสิทธิ์โควตาจำนวนครั้งและความถี่ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เงื่อนไขดังกล่าวถูกกำหนดโดยความเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างผู้ขอและพันธมิตรคู่คิด

ข้อมูลจำเพาะที่เกี่ยวข้องกับโควตาจำนวนครั้งและความถี่ตามความเหมาะสมของการให้กำเนิด สามารถพิจารณาตัดสินใจร่วมกันได้ โดยขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมาย และทรัพยากรของชุมชน

โควตาจำนวนครั้งตามพิจารณาของผู้ขอ

ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว จะได้รับโอกาสยื่นคำขอประสงค์ขอมีบุตรได้ทุก ๆ สี่ปี และมีโควตาจำนวนครั้งที่สามารถลงชื่อของตนลงในคิวตามลำดับสำหรับกลุ่มเป้าหมายจำนวนสามคนได้

การลงชื่อของคุณไว้ในคิวของสมาชิกในชุมชนที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษ อาจส่งผลให้คำขอดังกล่าวใช้ระยะเวลานานหลายปีกว่าที่คำขอของคุณจะได้รับการดำเนินการต่อไป

การยื่นคำขอตามลำดับของกลุ่มเป้าหมายพันธมิตร

สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำขอตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามจำนวนครั้งที่ถูกกำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือ 2 ปีสำหรับผู้หญิง

หากไม่ต้องการยื่นคำร้องดังกล่าวแล้ว ผู้ยื่นคำขอสามารถลบชื่อออกจากคิวที่กำหนดไว้ได้ตลอดเวลา หากบุคคลดังกล่าวกลับมาลงชื่ออีกครั้ง แต่ไม่รักษาอันดับตามที่กำหนดไว้ในกฎและเงื่อนไข ชื่อของบุคคลดังกล่าวจะถูกเพิ่มไว้ที่ด้านล่างแทน

ความแตกต่างระหว่างผู้ชายและผู้หญิง

ชุมชนสามารถสร้างข้อตกลง และกฎเกณฑ์ แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้ชาย และข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้หญิง ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวสามารถพิจารณาตั้งขึ้น และปรับเปลี่ยน ตามเห็นสมควรของสมาชิกในชุมชน

การคำนึงถึงสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญ โดยอาจมีการอนุญาตในกรณีพิเศษ นั่นคือกรณีเกี่ยวกับการคลอดบุตร เนื่องจากผู้หญิงได้รับความเสี่ยงและอาจเป็นอันตรายได้

A community could enact rules where outside of the required quota woman can choose to have a child with any man they choose, whereas men must use the queue and quota method to choose a mate. This would allow all men to have the opportunity to choose the woman to mate with while respecting the larger health considerations and commitment procreation has for women.

Mutual agreement

If two people mutually agree to have a child together this might not count within their quota, for women this would need to be organized around the required frequency decided by the community.

A community might enforce limits for the number of children one person can have, especially when communal child care and support is implemented.

Incorporating modern techniques

Fertility support could be supported or implemented by the community, in vitro fertilization used to assists couples having trouble conceiving.

Surrogate mothers could be an established method to achieve quotas or mating without the need for women to carry children to term. This could be in cases where the health of the mother would be in jeopardy or the community could incorporate this into the standard method of handling pregnancies.

Surrogate mothers could be rewarded by the community, or by the individuals involved for example if the pregnancy comes about from mutual agreement rather than quotas, but the mother is unable to carry the child herself at that time.

Enforcement

Like all topics in the community the Issue resolution process is used when people do not act within the spirit of the communities goals regarding procreation.

แนวคิดที่เกี่ยวข้อง

มติที่เกี่ยวข้อง