Community α - Economy/th: Difference between revisions
No edit summary |
Created page with "การตัดสินใจทั้งหมดจะถูกดำเนินการโดยระบบการลงคะแนนเสียง ระบบการลงคะแนนเสียง(voting system) ทั้งนี้หากข้อกำหนดที่สมาชิกในชุมชนตัดสินใจมีความขัดแย้งต่อกฎและกติกาของชุมช..." |
||
Line 14: | Line 14: | ||
สามารถนำกลวิธี [[Token economy/th|การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy)]] มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจต่อการทำกิจกรรมที่อาจไม่ถนัด หรือไม่ใช่แนวทางที่สนใจมากนัก ซึ่งกระบวนการดังกล่าว สามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดได้ อย่างไรก็ตามการใช้ทุนทรัพย์ต้องคำนึงถึงความประหยัดเพื่อสนับสนุน [[Scaling the community/th|การขยายขนาดชุมชน (scaling)]] และ [[Self-sufficiency/th|การพึ่งพาตนเอง(self-sufficiency)]] | สามารถนำกลวิธี [[Token economy/th|การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy)]] มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจต่อการทำกิจกรรมที่อาจไม่ถนัด หรือไม่ใช่แนวทางที่สนใจมากนัก ซึ่งกระบวนการดังกล่าว สามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดได้ อย่างไรก็ตามการใช้ทุนทรัพย์ต้องคำนึงถึงความประหยัดเพื่อสนับสนุน [[Scaling the community/th|การขยายขนาดชุมชน (scaling)]] และ [[Self-sufficiency/th|การพึ่งพาตนเอง(self-sufficiency)]] | ||
การตัดสินใจทั้งหมดจะถูกดำเนินการโดยระบบการลงคะแนนเสียง [[Voting/th|ระบบการลงคะแนนเสียง (voting system)]] ทั้งนี้หากข้อกำหนดที่สมาชิกในชุมชนตัดสินใจมีความขัดแย้งต่อกฎและกติกาของชุมชนอย่างชัดเจนจึงจะมีการบังคับยกเลิก | |||
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> | <div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr"> |
Revision as of 09:39, 12 December 2024
Level 7 (High) - Initial implementation of the Community α (Thailand) should implement and maintain
ภาพรวมของชุมชน
ภาวะเศรษฐกิจในระยะเริ่มต้นของ Community α (Thailand) จะมุ่งเน้นไปที่ การพึ่งพาตนเอง (Self-sufficiency) ในขณะที่สามารถสร้าง ชีวิตที่มีสุขภาพดี (Living healthy lives) ควบคู่ไปด้วยกันได้แก่สมาชิก
ทรัพยากรส่วนใหญ่มีปริมาณที่จำกัด และจุดมุ่งหมายหลักของสมาชิกในระยะเริ่มต้นคือการสร้างรายได้ต่อชุมชน โดยรายได้ดังกล่าวสามารถนำไปต่อยอดเพิ่มพูนสินทรัพย์ เพื่อรองรับสมาชิกใหม่และชำระค่าสินค้า รวมไปถึงบริการภายนอกที่จำเป็นต่อชุมชนได้
จุดมุ่งหมาย กระบวนการ และผลประกอบการที่ดีจนก่อให้เกิดกำไร ขึ้นอยู่กับโอกาส ทักษะ และความสามารถของสมาชิกในชุมชน โดยกระบวนการหรือวิธีที่ดี กล่าวคือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เพื่อวิเคราะห์พลังงานและทรัพยากรที่สร้างรายได้สูงสุด รวมไปถึงยังคงตระหนักต่อศีลธรรมอันสำคัญของชุมชน เช่น การปราศจากและจำกัด ความดีต่อความชั่ว (Good vs Evil)
รวมไปถึงนำวิธีการ การจัดการเวลาอย่างสร้างสรรค์ (Productive time management) มาประกอบใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วม พร้อมให้ความสำคัญต่องานของชุมชนมากยิ่งขึ้น
ทั้งนี้หากเป็นไปได้ ชุมชนมีความต้องการผลิตทรัพยากรทางอาหารให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิฉะนั้นจึงจะใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการแทน มื้ออาหารอาจจัดแบบรวมเพื่อลดขยะ รวมไปถึงป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
สามารถนำกลวิธี การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy) มาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจต่อการทำกิจกรรมที่อาจไม่ถนัด หรือไม่ใช่แนวทางที่สนใจมากนัก ซึ่งกระบวนการดังกล่าว สามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดได้ อย่างไรก็ตามการใช้ทุนทรัพย์ต้องคำนึงถึงความประหยัดเพื่อสนับสนุน การขยายขนาดชุมชน (scaling) และ การพึ่งพาตนเอง(self-sufficiency)
การตัดสินใจทั้งหมดจะถูกดำเนินการโดยระบบการลงคะแนนเสียง ระบบการลงคะแนนเสียง (voting system) ทั้งนี้หากข้อกำหนดที่สมาชิกในชุมชนตัดสินใจมีความขัดแย้งต่อกฎและกติกาของชุมชนอย่างชัดเจนจึงจะมีการบังคับยกเลิก