Community α - Economy/th: Difference between revisions

From Izara Community
Jump to navigation Jump to search
Noey (talk | contribs)
No edit summary
Noey (talk | contribs)
Created page with "สามารถนำกลวิธี การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy) มาใช้เพื่อตอบแทนผู้คนที่ทำภารกิจที่ไม่ค่อยพึงปรารถนา ซึ่งจะสามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดได้ อย่างไรก็ตาม การ..."
Line 12: Line 12:
ทั้งนี้หากเป็นไปได้ ชุมชนมีความต้องการผลิตทรัพยากรทางอาหารให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิฉะนั้นจึงจะใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการแทน มื้ออาหารอาจจัดแบบรวมเพื่อลดขยะ รวมไปถึงป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ทั้งนี้หากเป็นไปได้ ชุมชนมีความต้องการผลิตทรัพยากรทางอาหารให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิฉะนั้นจึงจะใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการแทน มื้ออาหารอาจจัดแบบรวมเพื่อลดขยะ รวมไปถึงป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
สามารถนำกลวิธี [[Token economy/th|การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy)]] มาใช้เพื่อตอบแทนผู้คนที่ทำภารกิจที่ไม่ค่อยพึงปรารถนา ซึ่งจะสามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดได้ อย่างไรก็ตาม การใช้สินทรัพย์จะต้องประหยัดเพื่อสนับสนุน [[Special:MyLanguage/Scaling the community|scaling]] และ [[Special:MyLanguage/Self-sufficiency|self-sufficiency]]
A [[Special:MyLanguage/Token economy|token economy]] can be implemented to reward people for doing less desirable tasks, which could then be used to allocated limited resources, however spending of assets would be frugal in order to support [[Special:MyLanguage/Scaling the community|scaling]] and [[Special:MyLanguage/Self-sufficiency|self-sufficiency]].
</div>


<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">
<div lang="en" dir="ltr" class="mw-content-ltr">

Revision as of 08:45, 12 December 2024

Level 7 (High) - Initial implementation of the Community α (Thailand) should implement and maintain

ภาพรวมของชุมชน

ภาวะเศรษฐกิจในระยะเริ่มต้นของ Community α (Thailand) จะมุ่งเน้นไปที่ การพึ่งพาตนเอง (Self-sufficiency) ในขณะที่สามารถสร้าง ชีวิตที่มีสุขภาพดี (Living healthy lives) ควบคู่ไปด้วยกันได้แก่สมาชิก

ทรัพยากรส่วนใหญ่มีปริมาณที่จำกัด และจุดมุ่งหมายหลักของสมาชิกในระยะเริ่มต้นคือการสร้างรายได้ต่อชุมชน โดยรายได้ดังกล่าวสามารถนำไปต่อยอดเพิ่มพูนสินทรัพย์ เพื่อรองรับสมาชิกใหม่และชำระค่าสินค้า รวมไปถึงบริการภายนอกที่จำเป็นต่อชุมชนได้

จุดมุ่งหมาย กระบวนการ และผลประกอบการที่ดีจนก่อให้เกิดกำไร ขึ้นอยู่กับโอกาส ทักษะ และความสามารถของสมาชิกในชุมชน โดยกระบวนการหรือวิธีที่ดี กล่าวคือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เพื่อวิเคราะห์พลังงานและทรัพยากรที่สร้างรายได้สูงสุด รวมไปถึงยังคงตระหนักต่อศีลธรรมอันสำคัญของชุมชน เช่น การปราศจากและจำกัด ความดีต่อความชั่ว (Good vs Evil)

รวมไปถึงนำวิธีการ การจัดการเวลาอย่างสร้างสรรค์ (Productive time management) มาประกอบใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วม พร้อมให้ความสำคัญต่องานของชุมชนมากยิ่งขึ้น

ทั้งนี้หากเป็นไปได้ ชุมชนมีความต้องการผลิตทรัพยากรทางอาหารให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ มิฉะนั้นจึงจะใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ และมีคุณค่าทางโภชนาการแทน มื้ออาหารอาจจัดแบบรวมเพื่อลดขยะ รวมไปถึงป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

สามารถนำกลวิธี การใช้เบี้ยอรรถกร (token economy) มาใช้เพื่อตอบแทนผู้คนที่ทำภารกิจที่ไม่ค่อยพึงปรารถนา ซึ่งจะสามารถนำไปใช้จัดสรรทรัพยากรที่มีจำกัดได้ อย่างไรก็ตาม การใช้สินทรัพย์จะต้องประหยัดเพื่อสนับสนุน scaling และ self-sufficiency

All decisions will be made by the voting system with veto power being employed only when decisions clearly contradict the community's primary goals.

Related initial states

Related concepts

Related reasonings