Allocated procreation/th: Difference between revisions
Created page with "สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำร้องตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามความถี่ที่กำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือ 2 ปีสำหรับผู้หญิง" |
Created page with "เช่นเดียวกับประเด็นอื่น ๆ ในชุมชน หากมีผู้กระทำการที่ขัดต่อเจตนารมณ์ของชุมชนในเรื่องการให้กำเนิด จะมีการใช้กระบวนการ การแก้ไขปัญหา เพื่อดำเนินการแก้ไข" |
||
(18 intermediate revisions by 2 users not shown) | |||
Line 22: | Line 22: | ||
== โควตาจำนวนครั้งตามพิจารณาของผู้ขอ == | == โควตาจำนวนครั้งตามพิจารณาของผู้ขอ == | ||
ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว | ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว จะได้รับโอกาสยื่นคำขอประสงค์ขอมีบุตรได้ทุก ๆ สี่ปี และมีโควตาจำนวนครั้งที่สามารถลงชื่อของตนลงในคิวตามลำดับสำหรับกลุ่มเป้าหมายจำนวนสามคนได้ | ||
การลงชื่อของคุณไว้ในคิวของสมาชิกในชุมชนที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษ อาจส่งผลให้คำขอดังกล่าวใช้ระยะเวลานานหลายปีหรือมีโอกาสค่อนข้างน้อยกว่าที่คำขอของคุณจะได้รับการดำเนินการต่อไป | |||
<span id="Target_partner_queue"></span> | <span id="Target_partner_queue"></span> | ||
== | == การยื่นคำขอตามลำดับของกลุ่มเป้าหมายพันธมิตร == | ||
สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำขอการมีบุตรร่วมกันตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามจำนวนครั้งที่ถูกกำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือทุก ๆ 5 ปีสำหรับผู้หญิง | |||
หากไม่ต้องการยื่นคำร้องดังกล่าวแล้ว ผู้ยื่นคำขอสามารถลบชื่อออกจากคิวที่กำหนดไว้ได้ตลอดเวลา หากบุคคลดังกล่าวกลับมาลงชื่ออีกครั้ง แต่ไม่รักษาอันดับตามที่กำหนดไว้ในกฎและเงื่อนไข ชื่อของบุคคลดังกล่าวจะถูกเพิ่มไว้ที่ด้านล่างแทน | |||
< | <span id="Differences_between_men_and_women"></span> | ||
== | == ความแตกต่างระหว่างผู้ชายและผู้หญิง == | ||
ชุมชนสามารถสร้างข้อตกลง และกฎเกณฑ์ แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้ชาย และข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้หญิง ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวสามารถพิจารณาตั้งขึ้น และปรับเปลี่ยน ตามเห็นสมควรของสมาชิกในชุมชน | |||
การคำนึงถึงสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญ โดยอาจมีการอนุญาตในกรณีพิเศษ นั่นคือกรณีเกี่ยวกับการคลอดบุตร เนื่องจากผู้หญิงได้รับความเสี่ยงและอาจเป็นอันตรายได้ | |||
ชุมชนสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ที่นอกเหนือจากโควตาที่กำหนดไว้ ผู้หญิงสามารถเลือกมีบุตรร่วมกับผู้ชายคนใดก็ได้ตามความต้องการ ในขณะที่ผู้ชายต้องใช้ระบบคิวและโควตาในการเลือกคู่ วิธีนี้จะเปิดโอกาสให้ผู้ชายทุกคนสามารถเลือกผู้หญิงที่ต้องการมีบุตรร่วมด้วยได้ ในขณะเดียวกันก็ยังคำนึงถึงปัจจัยด้านสุขภาพและความรับผิดชอบที่การให้กำเนิดมีต่อผู้หญิง | |||
< | <span id="Mutual_agreement"></span> | ||
== ข้อตกลงร่วมกัน == | |||
</ | |||
หากทั้งสองคนตกลงร่วมกันที่จะมีบุตร อาจไม่นับรวมในโควตาของพวกเขา สำหรับผู้หญิง การตัดสินใจนี้จะต้องสอดคล้องกับความถี่ที่ชุมชนกำหนดไว้ | |||
< | ทั้งนี้ชุมชนอาจกำหนดจำนวนจำกัด สำหรับจำนวนบุตรที่แต่ละคนสามารถมีได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการดูแลและสนับสนุนเด็กในรูปแบบส่วนรวม | ||
* [[Special:MyLanguage/Marriage and children|Marriage and children]] | |||
* [[Special:MyLanguage/Personal freedom|Personal freedom]] | <span id="Incorporating_modern_techniques"></span> | ||
* [[Special:MyLanguage/Greed and materialism|Greed and materialism]] | == การประยุกต์นำเทคนิคแบบใหม่มาใช้มากยิ่งขึ้น == | ||
* [[Special:MyLanguage/What makes humans happy|What makes humans happy]] | |||
ชุมชนอาจให้การสนับสนุนหรือดำเนินมาตรการช่วยเหลือด้านภาวะเจริญพันธุ์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) หรือ การทำเด็กหลอดแก้วเพื่อช่วยเหลือคู่รักที่ประสบปัญหาในการมีบุตร | |||
โดยการใช้วิธีแม่อุ้มบุญอาจเป็นวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้ระบบโควตาในการสืบพันธุ์สามารถบรรลุผล โดยไม่จำเป็นที่ผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์จนถึงกำหนดคลอด วิธีนี้อาจใช้ในกรณีที่สุขภาพของมารดาอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยง หรือชุมชนอาจนำแนวทางนี้มาใช้เป็นมาตรฐานในการจัดการการตั้งครรภ์อย่างเหมาะสม | |||
ด้วยเหตุนี้ผู้ที่อาสาเป็นแม่อุ้มบุญอาจได้รับรางวัลหรือผลตอบแทนจากชุมชน โดยบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น ในกรณีที่การตั้งครรภ์เกิดขึ้นจากข้อตกลงร่วมกันโดยมีบุคคลที่เป็นเพศหญิงอาสาอุ้มบุญแทนด้วยตนเองไม่ใช่เพราะกฏโควตา เนื่องด้วยอีกฝ่ายไม่สามารถตั้งครรภ์เองได้ในขณะนั้น | |||
<span id="Enforcement"></span> | |||
== การบังคับใช้ == | |||
เช่นเดียวกับประเด็นอื่น ๆ ในชุมชน หากมีผู้กระทำการที่ขัดต่อเจตนารมณ์ของชุมชนในเรื่องการให้กำเนิด จะมีการใช้กระบวนการ [[การแก้ไขปัญหา]] เพื่อดำเนินการแก้ไข | |||
<span id="Related_concepts"></span> | |||
= แนวคิดที่เกี่ยวข้อง = | |||
* [[Special:MyLanguage/Productive time management|การจัดการเวลาอย่างสร้างสรรค์ (Productive time management)]] | |||
* [[Special:MyLanguage/Allocated sexual activity|กิจกรรมทางเพศที่ได้รับการจัดสรรอย่างเหมาะสม (Allocated sexual activity)]] | |||
* [[Special:MyLanguage/Kindness and respect|ความกรุณาเอื้ออาทรต่อกันและความเคารพ (Kindness and respect)]] | |||
<span id="Related_reasonings"></span> | |||
= มติที่เกี่ยวข้อง = | |||
* [[Special:MyLanguage/Marriage and children|การสมรสและการมีบุตร (Marriage and children)]] | |||
* [[Special:MyLanguage/Personal freedom|เสรีภาพสิทธิส่วนบุคคล (Personal freedom)]] | |||
* [[Special:MyLanguage/Greed and materialism|ความโลภและลัทธิวัตถุนิยม (Greed and materialism)]] | |||
* [[Special:MyLanguage/What makes humans happy|สิ่งที่ทำให้มนุษย์มีความสุข (What makes humans happy)]] | |||
[[Category:Concepts{{#translation:}}]] | [[Category:Concepts{{#translation:}}]] |
Latest revision as of 06:16, 31 March 2025
Level 1 concept (Very low) - Tentative concept an Izara Community may consider implementing
ภาพรวมของชุมชน
จุดมุ่งหมายของการให้กำเนิดบุตรในขอบเขตด้านการควบคุมทางสังคมมีดังนี้:
- อนุญาต และยอมรับ ให้ชุมชนเลี้ยงดูบุตรด้วยการประยุกต์ใช้ระบบการสนับสนุนที่ดี กล่าวคือการให้อิสระ พร้อมทั้งไม่ตึงเครียด หรือเข้มงวดมากไปจนเกินพอดี
- ลดการบังคับฝืนใจและความไม่พึงประสงค์ในการหาคู่ครองแบบผูกมัด หรือข้อผูกมัดของการแต่งงานเป็นคู่ตลอดชีวิต
- ส่งเสริมการยกเลิกความรุนแรงของอำนาจอันไม่ชอบธรรม
- ลดความโลภและวัตถุนิยมอันเกี่ยวข้องกับการหาคู่ครองที่เหมาะสม
- จุดประสงค์ กล่าวคือสมาชิกชุมชนควรมุ่งเน้นไปที่เป้าหมายของชุมชน
รายละเอียดทั้งหมด การศึกษา และการสนับสนุนต่อการให้กำเนิด รวมไปถึงการเลี้ยงดูบุตร สามารถพิจารณาเห็นตามสมควรด้วยดุลยพินิจของแต่ละท่าน Izara Community.
ความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติตาม
สมาชิกในชุมชนที่บรรลุนิติภาวะตามกฏหมายแล้ว จึงจะสามารถพร้อมหรือประสงค์ขอมีบุตรร่วมกับสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ โดยมีเงื่อนไข กล่าวคือแต่ละคนจะได้รับสิทธิ์โควตาจำนวนครั้งและความถี่ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เงื่อนไขดังกล่าวถูกกำหนดโดยความเห็นชอบร่วมกัน ระหว่างผู้ขอและพันธมิตรคู่คิด
ข้อมูลจำเพาะที่เกี่ยวข้องกับโควตาจำนวนครั้งและความถี่ตามความเหมาะสมของการให้กำเนิด สามารถพิจารณาตัดสินใจร่วมกันได้ โดยขึ้นอยู่กับกลุ่มเป้าหมาย และทรัพยากรของชุมชน
โควตาจำนวนครั้งตามพิจารณาของผู้ขอ
ยกตัวอย่าง เช่น บุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว จะได้รับโอกาสยื่นคำขอประสงค์ขอมีบุตรได้ทุก ๆ สี่ปี และมีโควตาจำนวนครั้งที่สามารถลงชื่อของตนลงในคิวตามลำดับสำหรับกลุ่มเป้าหมายจำนวนสามคนได้
การลงชื่อของคุณไว้ในคิวของสมาชิกในชุมชนที่ได้รับความนิยมเป็นพิเศษ อาจส่งผลให้คำขอดังกล่าวใช้ระยะเวลานานหลายปีหรือมีโอกาสค่อนข้างน้อยกว่าที่คำขอของคุณจะได้รับการดำเนินการต่อไป
การยื่นคำขอตามลำดับของกลุ่มเป้าหมายพันธมิตร
สมาชิกแต่ละคนมีความจำเป็นที่จะต้องยื่นคำขอการมีบุตรร่วมกันตามลำดับ และต้องเข้าคิวตามจำนวนครั้งที่ถูกกำหนดไว้อย่างเหมาะสม เช่น 1 คิวต่อปีสำหรับผู้ชาย หรือทุก ๆ 5 ปีสำหรับผู้หญิง
หากไม่ต้องการยื่นคำร้องดังกล่าวแล้ว ผู้ยื่นคำขอสามารถลบชื่อออกจากคิวที่กำหนดไว้ได้ตลอดเวลา หากบุคคลดังกล่าวกลับมาลงชื่ออีกครั้ง แต่ไม่รักษาอันดับตามที่กำหนดไว้ในกฎและเงื่อนไข ชื่อของบุคคลดังกล่าวจะถูกเพิ่มไว้ที่ด้านล่างแทน
ความแตกต่างระหว่างผู้ชายและผู้หญิง
ชุมชนสามารถสร้างข้อตกลง และกฎเกณฑ์ แบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้ชาย และข้อตกลงหรือเงื่อนไขสำหรับผู้หญิง ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวสามารถพิจารณาตั้งขึ้น และปรับเปลี่ยน ตามเห็นสมควรของสมาชิกในชุมชน
การคำนึงถึงสุขภาพของผู้หญิงเป็นเรื่องสำคัญ โดยอาจมีการอนุญาตในกรณีพิเศษ นั่นคือกรณีเกี่ยวกับการคลอดบุตร เนื่องจากผู้หญิงได้รับความเสี่ยงและอาจเป็นอันตรายได้
ชุมชนสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ที่นอกเหนือจากโควตาที่กำหนดไว้ ผู้หญิงสามารถเลือกมีบุตรร่วมกับผู้ชายคนใดก็ได้ตามความต้องการ ในขณะที่ผู้ชายต้องใช้ระบบคิวและโควตาในการเลือกคู่ วิธีนี้จะเปิดโอกาสให้ผู้ชายทุกคนสามารถเลือกผู้หญิงที่ต้องการมีบุตรร่วมด้วยได้ ในขณะเดียวกันก็ยังคำนึงถึงปัจจัยด้านสุขภาพและความรับผิดชอบที่การให้กำเนิดมีต่อผู้หญิง
ข้อตกลงร่วมกัน
หากทั้งสองคนตกลงร่วมกันที่จะมีบุตร อาจไม่นับรวมในโควตาของพวกเขา สำหรับผู้หญิง การตัดสินใจนี้จะต้องสอดคล้องกับความถี่ที่ชุมชนกำหนดไว้
ทั้งนี้ชุมชนอาจกำหนดจำนวนจำกัด สำหรับจำนวนบุตรที่แต่ละคนสามารถมีได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการดูแลและสนับสนุนเด็กในรูปแบบส่วนรวม
การประยุกต์นำเทคนิคแบบใหม่มาใช้มากยิ่งขึ้น
ชุมชนอาจให้การสนับสนุนหรือดำเนินมาตรการช่วยเหลือด้านภาวะเจริญพันธุ์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) หรือ การทำเด็กหลอดแก้วเพื่อช่วยเหลือคู่รักที่ประสบปัญหาในการมีบุตร
โดยการใช้วิธีแม่อุ้มบุญอาจเป็นวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้ระบบโควตาในการสืบพันธุ์สามารถบรรลุผล โดยไม่จำเป็นที่ผู้หญิงจะต้องตั้งครรภ์จนถึงกำหนดคลอด วิธีนี้อาจใช้ในกรณีที่สุขภาพของมารดาอยู่ในสภาวะสุ่มเสี่ยง หรือชุมชนอาจนำแนวทางนี้มาใช้เป็นมาตรฐานในการจัดการการตั้งครรภ์อย่างเหมาะสม
ด้วยเหตุนี้ผู้ที่อาสาเป็นแม่อุ้มบุญอาจได้รับรางวัลหรือผลตอบแทนจากชุมชน โดยบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น ในกรณีที่การตั้งครรภ์เกิดขึ้นจากข้อตกลงร่วมกันโดยมีบุคคลที่เป็นเพศหญิงอาสาอุ้มบุญแทนด้วยตนเองไม่ใช่เพราะกฏโควตา เนื่องด้วยอีกฝ่ายไม่สามารถตั้งครรภ์เองได้ในขณะนั้น
การบังคับใช้
เช่นเดียวกับประเด็นอื่น ๆ ในชุมชน หากมีผู้กระทำการที่ขัดต่อเจตนารมณ์ของชุมชนในเรื่องการให้กำเนิด จะมีการใช้กระบวนการ การแก้ไขปัญหา เพื่อดำเนินการแก้ไข
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
- การจัดการเวลาอย่างสร้างสรรค์ (Productive time management)
- กิจกรรมทางเพศที่ได้รับการจัดสรรอย่างเหมาะสม (Allocated sexual activity)
- ความกรุณาเอื้ออาทรต่อกันและความเคารพ (Kindness and respect)